วันพุธที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

วงรี


วงรี
                                                           Y
                                                                          B(0,b)     
วงรี:                                      F(x,y)                                        F(x,y)        
                                       
                                                                                                 P(x,y)     

F/(x,y)
 
                     A (-a,0)                                                                              A(a,0)     
                                                            )Oฯฯ                    โF                                    X      


                                                            B (0,-b)


จากกราฟ  เป็นกราฟวงรีที่ผลบวกของระยะจากจุด P(x,y)  ใด ๆ บนวงรีไปยังจุดโพกัส F(-c,0) และ F(c,0) เท่ากับ  2a
มีความสัมพันธ์เป็น {(x,y) ÎRXR / =  1 วงรีนี้
1.       จุดศูนย์กลางที่จุด   O(0,0)
2.        แกนเอกอยู่บนแกน X
3.        A/ (-a,0) และ A(a,0)  เป็นจุดยอดของวงรี  และเรียก /A  ว่าแกน เอก และ /A ยาว  2a  หน่วย ( a  > 0   )
4.       B/ (0, -b) และ B(0,b)  เป็นจุดปลายแกนโทของวงรี เรียก B/ B ว่าแกนโท และ  B/ B ยาว  2b หน่วย (b   >  0 )
5.       F/(-c,0) และ F(c,0)   เป็นโพกัสของวงรี  และF/ F   ยาว   2 c หน่วย ( c > 0  )
6.        a > b >    0  และ a > c > 0     และ     b2  = a2 – c2
7.         latus  rectum ของวงรียาว    หน่วย






                                           Y
                                                 A(0,a)
วงรี:                 F(x,y)


                 O
                 F/(x,y)
                     P(x,y)


 

                                                                                                  X
          B(-b,0)                                                     B(b,0)

                                                          A(0,-a)



จากกราฟ  เป็นกราฟวงรีที่ผลบวกของระยะจากจุด P(x,y)  ใด ๆ บนวงรีไปยังจุดโพกัส F(0,-c) และ F(0,c) เท่ากับ  2a
มีความสัมพันธ์เป็น {(x,y) ÎRXR / =  1 วงรีนี้
1.จุดศูนย์กลางที่จุด   O(0,0)
2. แกนเอกอยู่บนแกน Y
3. A/ (0,-a) และ A(0,a)  เป็นจุดยอดของวงรี  และเรียก /A  ว่าแกน เอก และ /A ยาว      2a  หน่วย ( a  > 0   )
4.B/ (-b, 0) และ B(b,0)  เป็นจุดปลายแกนโทของวงรี เรียก B/ B ว่าแกนโท และ  B/ B ยาว  2b หน่วย (b   >  0 )
5.F/(0,-c) และ F(0,c)   เป็นโพกัสของวงรี  และF/ F   ยาว   2 c หน่วย ( c > 0  )
6. a > b >    0  และ a > c > 0     และ     b2  = a2 – c2
7.latus  rectum ของวงรียาว    หน่วย







วงรีที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ O/(h,K)

                                                     Y                                         Y/
                                                                                                  B(h,k+b
วงรี:             O(h,k)
F/(h-c,k)        F(x,y)   F(h+c,k)
                                                                      

                                                                                                                                              X/
                                                      A/(h-a,k)                                       O     F  A(h+a,k)

                                                                                                    B/(h,k-b)
                                                                                                                                          X
                                                     O



จากกราฟ  เป็นกราฟวงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด O/(h,k)  และแกนเอกอยู่บนเส้นตรง  y = k

มีความสัมพันธ์เป็น {(x,y) ÎRXR / + =  1 วงรีนี้
1.จุดศูนย์กลางที่จุด   A/ (h-a,k)และ A(h+a,k)
2. จุดปลายแกนโทอยู่ที่จุด B/ (h,k-b)    และ  B (h,k+b)
3.จุดโพกัส F/ (h-c, k) และ F(h+c,k)
4. a > b >    0  และ a > c > 0     และ     b2  = a2 – c2
5  latus  rectum ของวงรียาว    หน่วย









จากกราฟ  เป็นกราฟวงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่จุด O/(h,k)  และแกนเอกอยู่บนเส้นตรง  x = h



                                                                                                                 Y/             
                                                                                                                  A(h,k+a)
วงรี: F(h,k+c)       


O/(h,k)
F/(h,k-c)
                                                                          Y                          


                                                                                                                                                       X/
                                                                                 B(h-b,k)                                        B/(h+b,k)


                                                                                                                            A/(h,k-a)
                                                                         O                                                                     X      




มีความสัมพันธ์เป็น {(x,y) ÎRXR / + =  1 วงรีนี้
1.จุดศูนย์กลางที่จุด   A/(h, k-a) และ A(h,  k+a)
2. จุดปลายแกนโทอยู่ที่จุด B/ (h-b ,k)    และ  B (h+b ,k)
3.จุดโพกัส F/ (h , k-c) และ F(h ,k+c)
4. a > b >    0  และ a > c > 0     และ     b2  = a2 – c2
5  latus  rectum ของวงรียาว    หน่วย

วงกลม


วงกลม
บทนิยามของวงกลม
                วงกลม  คือ  เซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบเดียวกันเป็นระยะทางเท่าๆกัน


ส่วนต่างๆของวงกลม














1.  จุดคงที่ O                                                       เรียกว่า             จุดศูนย์กลาง
2.  ส่วนของเส้นตรง  OC                                     เรียกว่า             รัศมี
3.  ส่วนของเส้นตรง  DE                                     เรียกว่า             คอร์ด
4.  ส่วนของเส้นตรง  AB                                      เรียกว่า             เส้นผ่านศูนย์กลาง
5.  ส่วนของเส้นตรง  OX                                      เรียกว่า             ระยะที่คอร์ดห่างจากจุดศูนย์กลาง

ทฤษฎีเกี่ยวกับคอร์ดของวงกลม

                1.  ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่ง  ไปยังจุดกึ่งกลางของคอร์ดใดๆ  ( ที่ไม่ใช่เส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมนั้น )  จะตั้งฉากกับคอร์ด
                2.  ส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดศูนย์กลางของวงกลมหนึ่งไปตั้งฉากกับคอร์ดใดๆของวงกลม  จะแบ่งครึ่งคอร์ดนั้น
                3.  เส้นตรงซึ่งแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับคอร์ดของวงกลมใดๆ  จะผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมนั้น
                4.  มีวงกลมวงเดียวเท่านั้นที่ผ่านจุดสามจุดซึ่งไม่อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
                5.  ในวงกลมเดียวกัน  หรือวงกลมที่เท่ากัน  คอร์ดที่ยาวเท่ากัน  ย่อมอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเท่ากัน
                6.  ในวงกลมเดียวกัน  หรือวงกลมที่เท่ากัน  คอร์ดที่ยาวย่อมอยู่ใกล้  จุดศูนย์กลางของวงกลมมากกว่าคอร์ดที่สั้น
                7.  ส่วนของเส้นตรงที่ลากต่อจุดศูนย์กลางของวงกลมสองวงที่ตัดกันย่อมแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับคอร์ดร่วม

ส่วนโค้งและมุมในวงกลม

บทนิยาม

1.  ครึ่งวงกลม  คือ  ระนาบที่ประกอบด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางและครึ่งของเส้นรอบวงของวงกลม
                2.  ส่วนโค้ง  คือ  ส่วนใดส่วนหนึ่งของเส้นรอบวงของวงกลม  ถ้าเส้นรอบวงถูกแบ่งออกเป็น  2  ส่วนไม่เท่ากันส่วนโค้งที่ยาว  เรียกว่า  ส่วนโค้งใหญ่  และ  ส่วนโค้งที่สั้น  เรียกว่า  ส่วนโค้งน้อย
                3.  ส่วนของวงกลม  คือ  ระนาบที่ประกอบด้วยคอร์ดกับส่วนโค้งของวงกลม
                4.  มุมที่จุดศูนย์กลาง  คือ  มุมที่มีจุดยอดมุมอยู่ที่จุดศูนย์กลางและมีรัศมี  2  เส้น เป็นแขนของมุม
                5.  มุมในส่วนโค้งของวงกลม  คือ  มุมที่มีจุดยอดมุมอยู่บนวงกลมและมีแขนทั้งสองของมุมตัดวงกลม
 














1.  ส่วนโค้ง  ACB                                               เรียกว่า             ส่วนโค้งใหญ่
2.  ส่วนโค้ง  ADB                                               เรียกว่า             ส่วนโค้งน้อย
3.  พื้นที่  F                                                          เรียกว่า             ครึ่งวงกลม
 














1.  มุม  C                                                             เรียกว่า             มุมในส่วนโค้งของวงกลม
2.  มุม  O                                                             เรียกว่า             มุมที่จุดศูนย์กลาง

ทฤษฎีเกี่ยวกับส่วนโค้งและมุมในวงกลม

                1.  มุมที่จุดศูนย์กลางย่อมทีขนาดเป็นสองเท่าของมุมในส่วนโค้งของวงกลมซึ่งรองรับด้วยส่วนโค้งเดียวกัน
                2.  มุมในส่วนโค้งของวงกลมที่รองรับด้วยส่วนโค้งที่ยาวเท่ากัน  ย่อมมีขนาดเท่ากัน
                3.  สี่เหลี่ยมที่แนบอยู่ในวงกลม  มุมตรงข้ามรวมกันย่อมเท่ากับสองมุมฉาก
                4.  สี่เหลี่ยมที่มีมุมตรงข้ามรวมกันเป็นสองมุมฉาก  วงกลมย่อมผ่านได้
                5.  ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมที่บรรจุในวงกลมออกไป  มุมภายนอกที่เกิดขึ้นย่อมเท่ากับมุมภายในที่อยู่ตรงกันข้าม
                6.  มุมภายในครึ่งวงกลมย่อมเป็นมุมฉาก
                7.  ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมที่เท่ากัน  มุมที่อยู่บนส่วนโค้งที่ยาวเท่ากันย่อมมีขนาดเท่ากัน
                8.  ในวงกลมเดียวกันหรือวงกลมที่เท่ากัน  ส่วนโค้งซึ่งอยู่ตรงกันข้ามกับมุมที่เท่ากันย่อมยาวเท่ากัน

เส้นสัมผัส

บทนิยาม

                1.  เส้นผ่านวง  คือ  เส้นตรงที่ลากตัดเส้นรอบวงของวงกลม  2  จุด
                2.  เส้นสัมผัส  คือ  เส้นตรงที่ลากตัดเส้นรอบวงของวงกลมเพียงจุดเดียว  จุดนี้เรียกว่า  จุดสัมผัส
                3.  เส้นสัมผัสร่วม  คือ  เส้นตรงที่สัมผัสวงกลมตั้งแต่สองวงขึ้นไป
 














1.  ส่วนของเส้นตรง  AB                                      เรียกว่า             เส้นผ่านวง
2.  ส่วนของเส้นตรง  CD                                     เรียกว่า             เส้นสัมผัส
3.  จุด  E                                                             เรียกว่า             จุดสัมผัส

ทฤษฎีเกี่ยวกับเส้นสัมผัส

                1.  เส้นสัมผัสวงกลมย่อมตั้งฉากกับรัศมีที่จุดสัมผัส
                2.  จากจุดๆหนึ่งภายนอกวงกลม  ลากเส้นสัมผัสวงกลมได้สองเส้นยาวเท่ากัน  และต่างรองรับมุมที่จุดศูนย์กลางเท่ากันด้วย
                3.  วงกลมสองวงสัมผัสกัน  จุดสัมผัสกับจุดศูนย์กลางของวงกลมทั้งสองย่อมอยู่บนแนวเส้นตรงเดียวกัน
4.       มุมที่เกิดจากเส้นสัมผัส  ทำกับปลายคอร์ดที่จุดสัมผัส  ย่อมเท่ากับมุมในส่วนของวงกลมที่อยู่ตรงกันข้าม

รูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า

สรุปสูตรเกี่ยวกับรูปหลายเหลี่ยม
1.  ผลบวกของมุมภายในทุกมุมของรูป  n  เหลี่ยม                                                               =                  180n – 360                    องศา
                                            ( n = จำนวนด้าน )                                                                =                  ( n – 2 ) 180                   องศา

 

2.  มุมภายในแต่ละมุมของรูป  n  เหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า                                                      =                                                          องศา


3.  ผลบวกของมุมภายนอกทุกมุมของรูป  n  เหลี่ยม                                                            =                  360                                 องศา

 

4.  จำนวนเส้นทแยงมุมของรูป  n  เหลี่ยม                                                                          =                                                          องศา